วันพุธที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562

จุดมุ่งหมายการศึกษาของมาร์ซาโน




Marzano & Kendall, (2007) ได้พัฒนาการจัดกลุ่มพฤติกรรมการเรียนรู้ขึ้นใหม่ แบ่งเป็น 1) ระบบ ปัญญา (Cognitive System) 2) ระบบอภิปัญญา (Meta cognitive System) และ 3)ระบบตนเอง (Self System) และได้จำแนกอนุกรมวิธานจุดมุ่งหมายทางการศึกษาเป็น 6 ขั้น
ขั้นที่ 1 การดึงกลับคืนมา (Retrieval) ได้แก่ การระบุข้อความได้ (Recognizing) การระลึกได้ (Recalling) uazasitoisual. Executing)
ขั้นที่ 2 ความเข้าใจ (Cornprehension) ได้แก่ การบูรณาการ (Integration) และการทำให้เป็น สัญลักษณ์ (Symbolizing)
ขั้นที่ 3 การวิเคราะห์ (Analysis) ได้แก่ การจับคู่ได้ (Matching) แยกประเภทได้(Classifying) วิเคราะห์ ความผิดพลาดได้ (Analyzing Error) ติดตามได้ (Generalizing) และชี้ให้จำเพาะเจาะจงได้ (Specifying)
ขั้นที่ 4 การนำความรู้ไปใช้ (Knowledge Utilizing) ได้แก่ การตัดสินใจ (Decision Making) การแก้ปัญหา (Problem Solving) การทดลองปฏิบัติ (Experimenting) และการสืบค้นต่อไปให้เกิดความเข้าใจ ที่ลึกซึ้ง (Investigating)
ขั้นที่ 5 อภิปัญญา (Meta-cognition) ได้แก่ การระบุจุดหมาย (Specifying Goals) การกำกับติดตาม กระบวนการ (Process Monitoring) การทำให้เกิดความชัดเจนในการกำกับติดตาม (Monitoring Clarity) และ การกำกับติดตามตรวจสอบความถูกต้องชัดเจน (Monitoring Accuracy)
ขั้นที่ 6 การมีระบบความคิดของตนเอง (Self-System thinking) ได้แก่ การตรวจสอบประสิทธิภาพ (Examining Efficacy) การตรวจสอบการตอบสนองทางอารมณ์ (Examining Emotional Response) และการ ตรวจสอบแรงจูงใจ (Examining Motivation)
Marzano, (2000) ได้นำเสนอมิติใหม่ทางการศึกษา ดังนี้

ตารางที่ 6 มิติใหม่ทางการศึกษา ระบบตนเอง

ระบบตนเอง  (Self-System)
ความเชื่อเกี่ยวกับความสำคัญของความรู้ (Beliefs About the Importance of Knowledge)
ความเชื่อเกี่ยวกับประสิทธิภาพ(Beliefs About Efficacy)
อารมณ์ความรู้สึกที่เกี่ยวพันกับความรู้

ตารางที่ 7 มิติใหม่ทางการศึกษา ระบบอภิปัญญา
ระบบอภิปัญญา (Meta-cognitive System)
การบ่งชี้จุดหมาย (Specifying Learning Goals)
การเฝ้าระวังในกระบวนการ/การนำความรู้ไปใช้ (Monitoring the Execution Knowledge)
การทำให้เกิดความชัดเจน (Monitoring Clarity)
การตรวจสอบความถูกต้องชัดเจน

 ที่ 8 มิติใหม่ทางการศึกษา ระบบปัญญา




ตารางที่ 9 การเปรียบเทียบ Blooms Taxonomy และ Marzano Taxonomy




จากตารางเปรียบเทียบสรุปว่า วัตถุประสงค์การเรียนรู้ตาม Bloorn Taxonoray ด้าน cognitive dostrial 110 TaxoHaoday เรียกว่า cognitive ven อีกสองระบบที่เพิ่มขึ้นไม่พบใน Bloorn Taxonoray คือ- System และ self systemมาร์ชาโน ได้อ้างถึง แนวคิดของ Sternberg (Marzan0, 1998, 4. ประกอบสำคัญของระบบอภิปัญญาที่ใช้ในการจัดการตนเอง (organizing) การกำกับติดครู
ประเมิน (Evaluating) และการควบคุม(regulating) ซึ่งองค์ประกอบของการรู้คิดแบบ กลุ่ม ได้แก่ มาร์ชาโน กล่าวถึงองค์ประกอบสำคัญของระบบอภิปัญญาที่ใช้ในการจัดการตนเอง 54112ing) การกำกับติดตาม (Monitoring) การประเมิน (Evaluating) และการควบคุม(regulating) โดยแบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่
1. การระบุจุดหมายเฉพาะเจาะจง (Goal (the job of the goal) ที่ผู้เรียนตัดสินใจเลือกปฏิบัติ โดยมีการกำหนดผลสำเร็จของงานในแต่ละวัน
2. การระบุกระบวนการที่ชัดเจน (Process specification) คือ การกำหนดความรู้ ทักษะหรือ กลวิธี ขั้นตอน กระบวนการเพื่อการบรรลุจุดหมายของชิ้นงานอย่างเหมาะสม
3. การกำกับดูแลกระบวนการ (Process monitoring) คือ การติดตามควบคุมแต่ละกระบวนการ แต่ละขั้นตอนในการนำทักษะ กลวิธีไปใช้สร้างสรรค์งานชิ้นงานอย่างมีประสิทธิผลและมีประสิทธิภาพโดย ใช้เวลาและทรัพยากรอย่างคุ้มค่า
4. การกำกับดูแลการปฏิบัติของตน (Disposition monitoring) คือ เป็นการควบคุมตนเองในการ ปฏิบัติงานที่เหมะสม เพื่อให้งานเกิดประสิทธิผลและมีประสิทธิภาพ เช่น การให้ความสำคัญกับงานมุ่งเน้น ผลผลิตที่มีความถูกต้อง แม่นยำ ความเป็นระบบ มีแรงจูงใจในการทำงาน มีส่วนร่วมในการทำงาน ฯลฯ
แนวคิดเกี่ยวกับระบบอภิปัญญา (Meta-cognitive System) ของ Marzano กล่าวสรุปองค์ประกอบ ของระบบอภิปัญญาได้เป็น 4 กลุ่ม คือ 1) การกำหนดจุดหมายของการเรียนรู้ (Specifying Learning Goals) 2) การกำกับติดตามการปฏิบัติของกระบวนการทางปัญญา (Monitoring the Execution of Knowledge) 3) การดูแลติดตามความชัดเจน และ 4) การกำกับติดตามให้เกิดความถูกต้อง


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

บล็อกนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา การจัดการการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิจิตรา ธงพานิช  ผู้จั...