การประเมินผลเพื่อปรับปรุงการเรียนการสอน
จะทําให้ทั้งผู้สอนและผู้เรียนปรับปรุงตนเองอยู่ เสมอ
เพราะการประเมินผลเพื่อปรับปรุงการเรียนการสอนอาศัยการประเมินตัวต่อตัว
ประเมินกลุ่มย่อยและ การทดลองภาคสนาม
การออกแบบการเรียนการสอนจะทําให้การประเมินในลักษณะนี้มีความชัดเจนขึ้น
และใช้การประเมินแบบอิงเกณฑ์ โดยประเมินผู้เรียนแต่ละคนเปรียบเทียบกับจุดประสงค์
หรือจุดหมายและ
ระดับคุณภาพ(เกณฑ์ที่กําหนดไว้นอกจากนี้ยังเป็นการเสริมสร้างนิสัยที่พึงปรารถนา
ให้แก่ผู้เรียนอีกด้วย ที่ จัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือกันเป็นพื้นฐานแล้ว ผู้เรียนจะติดนิสัยการให้ความร่วมมือกัน
จะทําให้ สังคมได้เยาวชน และผู้ประกอบวิชาชีพในสาขาต่างๆ ที่เห็นแก่ส่วนรวม
มีความเป็นประชาธิปไตย ยอมรับ ความคิดเห็น และปฏิบัติตามมติของกลุ่ม
แม้ว่าตนเองจะไม่เห็นด้วย รู้จักช่วยให้กลุ่มประสบความสําเร็จใน งาน
เพราะงานบางอย่าง บางประเภท ไม่อาจทําสําเร็จได้โดยลําพังผู้เดียว
ต้องอาศัยความร่วมมือช่วยเหลือ ซึ่งกันและกัน
ส่วนกลุ่มที่มีการแข่งขันกันนั้นควรจะเป็นการเสริมแรงทางบวก คือ
การแข่งขันกับตนเอง เพื่อที่จะเอาชนะใจตนเอง มีวินัยในตนเอง และพัฒนาตนเองในที่สุด

วันอังคารที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2562
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
บล็อกนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา การจัดการการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิจิตรา ธงพานิช ผู้จั...

-
รูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นการพัฒนาด้านจิตพิสัย 2 . รูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นการพัฒนาด้านจิตพิสัย ( Affective Domain ) รูปแบบการเรีย...
-
บทที่ 3 วิเคราะห์ภาระงาน ( Task Analysis ) T : วิเคราะห์ภาระงาน ศึกษาข้อมูลต่างๆ เพื่อให้ได้ความรู้ ( knowledge )ทักษา ( Skill ) และ...
-
3.การเรียนการสอนที่เน้นการพัฒนาด้านทักษะพิสัย( Psycho - Motor Domain ) รูปแบบการเรียนการสอนในหมวดนี้ เป็น...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น